สรุปบทที่ 7 ระบบสารสนเทศสำหรับสนับสนุนการตัดสินใจด้านการบริหาร เเบบฝึกหัดบทที่ 7กรณีศึกษา
สรุปบทที่ 7
- การจัดการระดับกลาง (Middle Level Management)
- การจัดการระดับต้น (Lower Level Management)
ตอบ ระบบการตัดสินใจเป็นประเภทหลักของระบบสารสนเทศที่คอมพิวเตอร์เป็นพื้นฐานติดต่อเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างกัน เพื่อสนับสนุนการตัดสินใจระหว่างขั้นตอนตัดสินใจระบบสนับสนุนการตัดสินใจที่ใช้คือ
1.รูปแบบจำลองในการวิเคราะห์
2.ฐานข้อมูลเฉพาะ
3.ผู้ที่ตัดสินใจหรือหรือผู้ตัดสิน
4.การติดต่อระหว่างกัน
2. ระบบงานการขาย มีความก้าวหน้ากว่า แต่ก่อนมาก เมื่อต้องการข้อมูลสำหรับการทำงานในองค์กร เนื่องจากความต้องการเรื่องกลยุทธ์ และการบริหารการตัดสินใจในธุรกิจเปลี่ยนไป ให้นักศึกษาอธิบายเหตุการณ์เปลี่ยนแปลงนี้
ตอบ แผนกลยุทธ์ คือการตัดสินใจวางแผนอย่างมีระบบ มีทิศทางมีกระบวนการทำงานที่ชัดเจน มีความสอดคล้องกับสภาพแวดล้อม เพื่อให้องค์กรสามารถดำรงอยู่ได้ในอนาคต
โดยอาศัยการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจของทุกฝ่าย เทคนิค คือ กลวิธีต่างๆ ที่ใช้เสริมกระบวนการ ขั้นตอน วิธีการ หรือการกระทำใดๆ เพื่อช่วยให ้ กระบวน การ ขั้นตอน วิธีการ หรือการกระทำนั้นๆ มีคุณภาพและประสิทธิภาพมากขึ้น ดังนั้น เทคนิค การสอน จึงหมายถึง กลวิธีต่างๆ ที่ใช้เสริมกระบวนการสอน ขั้นตอนการสอน วิธีการสอน หรือการดำเนิน การทางการสอนใดๆ เพื่อช่วยให้การสอนมีคุณภาพและประสิทธิภาพมากขึ้น เช่น ในการบรรยาย ผู้สอนอาจ ใช้เทคนิคต่างๆ ที่สามารถช่วยให้การบรรยายมีคุณภาพและประสิทธิภาพมากขึ้น เช่น การยกตัวอย่าง การใช ้ สื่อ การใช้คำถาม เป็นต้น
การทำให้องค์การสามารถปฏิบัติงานได้ จะต้องมีความรู้เรื่องทักษะของคน ความเข้าใจคน การสร้างความประทับใจที่ดีต่อบุคคล การใช้เวลาที่เหมาะสม การไตร่ตรองอย่างรอบคอบ เพื่อประกอบในการตัดสินใจในการบริหารงาน
3. มีแนวทางไหนบ้าง ที่นักศึกษาใช้โปรแกรมตารางคำนวณอิเล็กทรอนิกส์ที่นำมาช่วยในการตัดสินใจ
ตอบ ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision Support system : DSS)ทำหน้าที่ในการอำนวยความสะดวกในการจัดรูปแบบข้อมูล การนำข้อมูลมาใช้ และการรายงานข้อมูลเพื่อที่จะใช้ประโยชน์ในการตัดสินใจของผู้บริหารต่างๆ ระบบ DSS จะมีความสามารถในการใช้งานได้ดีกว่าระบบประมวลผลรายการและระบบรายงานการจัดการ เนื่องจากระบบ DSS สามารถที่จะปรับเปลี่ยนตัวแปร ที่แตกต่าง กันและทำการวิเคราะห์ใหม่ได้
4. ทำไมการใช้ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหารระดับสูง จึงขยายไปยังระดับกลาง และขยายไปทั่วหมดทุกแผนกในองค์กร
ตอบ ผู้บริหารระดับสูงจะต้องเป็นผู้ทรงความรู้ความสามารถในทุกเรื่องที่เกี่ยวกับองค์การอย่างละเอียดและกว้างขวางจะต้องเป็นผู้รู้ความเป็นไปของธุรกิจ การดำเนินงาน รวมถึงความสามารถในการตรวจสอบประเมินผลการปฏิบัติงานต่าง ๆ ในการดำเนินธุรกิจได้เป็นอย่างดีนอกจากนี้ยังต้องมีความสามารถในการถ่ายทอดข้อมูลอันเป็นผลให้ก่อประโยชน์ต่อองค์การหลีกเลี่ยงการพูดที่ทำให้เกิดความเสียหาย หรือภาพลักษณ์ที่ไม่ดีต่อองค์การ
5. ทำไมเครื่องคอมพิวเตอร์จึงสามารถคิดได้ อธิบายเหตุผล
ตอบ คอมพิวเตอร์คือ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิคส์อเนกประสงค์ที่ได้สร้างขึ้นเพื่อให้มนุษย์สามารถนำมาใช้เป็นเครื่องมือ (tools) สำหรับเพิ่มปรสิทธิภาพในการทำงานด้านต่างๆๆ ให้ได้ตามต้องการของมนุษย์ เช่น ด้านการศึกษางานวิจัย วิทยาศาสตร์การแพทย์ ฯลฯ ระบบคอมพิวพิวเตอร์ คือ กลุ่มของเครื่องจักรและอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่รวมตัวเข้าด้วยกันเพื่อร่วมกันประเมินผลข้อมูลด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์นั้น ๆ (ELECTRONIC DATA PROCESSING )
หรือประมวลผลข้อมูล (INFORMATION PROCESSING) นั้นเพมื่อให้ได้ข่าวสารตรงตามที่ต้องการ โดยที่ระบบคอมพิวเตอร์จะอ่านข้อมูล (INCOMING DATA) ประมวลผลข้อมูล(PROCESSING) แล้วส่งผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลนั้นๆ (OUTPUT) ให้กับผู้ใช้
6. การประยุกต์ใช้ปัญญาประดิษฐ์ในองค์กร ส่วนไหนสำคัญที่สุด บอกเหตุผลที่นักศึกษาเลือก
ตอบ ลักษณะการทำงานที่เป็นธรรมชาติ เพราะเป็นการพัฒนาลักษณะลักษณะการทำงานที่เป็นธรรมชาติ เป็นการพิจรณาจากหลักของการปฏิบัติการทางปัญญาประดิษฐ์แป็นส่วนที่สำคัญในการใช้ธรรมชาติของมนุษย์
7. การผสมผสานระหว่างระบบผู้เชี่ยวชาญและเครือข่ายเส้นประสาท จะก้าวหน้าต่อไปอย่างไม่หยุดยั้ง นักศึกษาคาดหวังจะเกิดเทคโนโลยีที่ล้ำสมัยอย่างไรบ้าง
ตอบ เป็นการนำเอาระบบต่างๆ หรือเทคนิคต่างๆ ของปัญญาประดิษฐ์ที่กล่าวข้างต้นมาบูรณาการเข้าด้วยกันเป็นระบบเดียว ส่วนใหญ่จะเป็นการบูรณาการระหว่างระบบผู้เชี่ยวชาญกับระบบเครือข่ายนิวรอนเข้าด้วยกัน เช่น โปรแกรมประยุกต์ดาต้าไมนิ่ง ด้านการตลาดและการขายของบริษัท จากการเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ผู้พัฒนาปัญญาประดิษฐ์ได้สร้างผลิตภัณฑ์มีรวบรวมเอาเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์มาเป็นระบบปัญญาประดิษฐ์ผสมผสานเพียงหนึ่งเดียว โดยประกอบด้วยเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ที่ได้รับความนิยม 2 ตัว คือ ระบบผู้เชี่ยวชาญและเครือข่ายเส้นประสาท เช่น การรวมเอาระบบ ES/NNที่อาจจะพบกับแนวโน้มหรือการค้นหาความสัมพันธ์ที่ซ้อนอยู่ (ตามที่ตาข่ายเส้นประสาททำอยู่) และหลังจากนั้นจะมีการวินิจฉัยและตัดสินใจเกี่ยวกับสิ่งเหล่านี้ในส่วนของปัญหาเฉพาะ (ตามที่ระบบผู้เชี่ยวชาญทำอยู่)
ตอบ ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert Systems) ระบบนี้จะพยายามลอกเลียนแบบความสามารถของ ผู้เชี่ยวชาญที่เป็นมนุษย์ในการแก้ปัญหาต่างๆ
ระบบสนับสนุนการตัดสินใจกลุ่ม(Group Decision Support System: GDSS) ส่วนประกอบและประโยชน์ของGDSS รวมถึงการประยุกต์ใช้ระบบ DSS
การจัดการกับการตัดสินใจ
การจัดการ หมายถึง การบริหารอย่างเป็นระบบ เป็นกิจกรรมที่กลุ่มบุคคลร่วมมือกันดำเนินงานให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ โดยใช้ทรัพยากรอย่างเหมาะสม และ เกิดประโยชน์สูงสุด
กระบวนการจัดการนั้น ประกอบไปด้วย การวางแผน การจัดองค์การ การสั่งการ การควบคุม ดังนั้นผู้บริหารจะต้องนำความรู้ ความเข้าใจด้านการบริหารมาประยุกต์ใช้ ให้เหมาะสมกับการทำงาน สถานการณ์ และสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะสภาพแวดล้อมที่มีการแข่งขันกันสูง ผู้บริหารจะต้องเลือก วิเคราะห์ข้อมูลให้ได้สารสนเทศที่ง่ายต่อการเข้าใจ และบริหาร ตลอดจนมองหาโอกาส และวางกลยุทธ์ได้อย่างชาญฉลาด รวดเร็วเหนือคู่แข่งสามารถนำพาองค์การให้เจริญก้าวหน้าได้
ระดับของการจัดการ แบ่งเป็น 3 ระดับ คือ
ผู้บริหารระดับสูงจะเป็นผู้กำหนด วิสัยทัศน์ นโยบาย เป้าหมาย วัตถุประสงค์ รวมถึงการวางกลยุทธ์ และแผนระยะยาวขององค์การ จึงมีความต้องการสารสนเทศจากทั้งภายในองค์การ และสิ่งแวดล้อมภายนอก สารสนเทศภายในแสดงถึง ผลสรุปการดำเนินงานของธุรกิจในองค์การ ส่วนสารสนเทศจากสิ่งแวดล้อมภายนอกก็จะนำมาเป็นปัจจัยร่วมในการบริหาร เช่น อัตราการเติบโตของอุตสาหกรรม หรือส่วนแบ่งทางการตลาดของคู่แข่งขัน
ผู้บริหารระดับกลาง มีหน้าที่ วางแผนยุทธวิธี และประสานงานระหว่างผู้บริหารระดับสูง และผู้บริหารระดับต้น ให้ดำเนินงานอย่างราบรื่น ปฎิบัติงานตามนโยบาย หรือแผนงานที่ผู้บริหารระดับสูงกำหนด ข้อสรุปและสารสนเทศต่างๆ ของการปฏิบัติงานจะถูกรวบรวมมาทำการวิเคราะห์ วางแนวทางการดำเนินงาน และปรับปรุงเพื่อให้ทำงานบรรลุตามเป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ผู้บริหารระดับต้นมีหน้าที่ควบคุม ดูแลการปฏิบัติงานประจำวัน ขั้นตอนการทำงานมีรูปแบบแน่นอน การจัดการระดับนี้ต้องอาศัยข้อมูลจากการดำเนินงานที่เกี่ยวข้องอย่างละเอียดนำมาวิเคราะห์ เพื่อแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น ควบคุมให้สามารถดำเนินงานตามแผนระยะสั้นที่วางไว้
การตัดสินใจ (Decision Making) ประกอบด้วย 4 ขั้นตอน ดังนี้
1. การใช้ความคิดประกอบเหตุผล = รวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวกับปัญหา นำข้อมูลมาวิเคราะห์ตรวจสอบ แยกแยะ กำหนดรายละเอียดของปัญหา
2. การออกแบบ = การพัฒนาวิเคราะห์ทางเลือกที่เป็นไปได้ อาจใช้ตัวแบบเพื่อสร้างทางเลือกในการแก้ปัญหา ออกแบบหนทางการแก้ปัญหาที่ดีที่สุด
3. การคัดเลือก = เลือกแนวทางที่เหมาะสมกับปัญหาและสถานการณ์มากที่สุด อาจใช้เครื่องมือมาช่วยวิเคราะห์ คำนวณค่าใช้จ่าย ผลตอบแทนแต่ละแนวทาง เพื่อให้ได้ทางที่ดีที่สุด
4. การนำไปใช้ = เป็นขั้นตอนที่นำผลการตัดสินใจไปปฏิบัติ ติดตามผลการปฏิบัติ เพื่อตรวจสอบว่าดำเนินงานมีประสิทธิภาพ หรือขัดข้องประการใด
ระดับการตัดสินใจภายในองค์การ แบ่งออกเป็น 3 ระดับ คือ
1. การตัดสินใจเชิงกลยุทธ์ (Strategic Decision Making) = เป็นการตัดสินใจของผู้บริหารระดับสูง ที่จะกำหนดวิสัยทัศน์ กำหนดนโยบาย วางแผนระยะยาวขององค์การให้บรรลุวัตถุประสงค์
2. การตัดสินใจเชิงยุทธวิธี (Tactical Decision Making) = เป็นการตัดสินใจของผู้บริหารระดับกลาง เช่น การจัดสรรทรัพยากรที่จำเป็นให้บรรลุวัตถุประสงค์ จัดสรรงบประมาณ กำหนดการผลิต ยุทธวิธีทางการตลาด วางแผนงบประมาณ เป็นต้น
3.การตัดสินใจเชิงปฏิบัติการ (Operation Decision Making) = เป็นการตัดสินใจของผู้บริหารระดับปฏิบัติการเช่น การควบคุมสินค้าคงคลัง การตัดสินใจในกระบวนการในการสั่งซื้อ สามารถกำหนดไว้ล่วงหน้า และตัดสินใจได้โดยอัตโนมัติ
ประเภทของการตัดสินใจ มี 3 รูปแบบ คือ
1.การตัดสินใจแบบมีโครงสร้าง (Structured Decision) = เป็นการตัดสินใจในระดับปฏิบัติการ เป็นตัดสินใจเกี่ยวกับปัญหาที่มีขั้นตอน กระบวนการในการแก้ปัญหาแน่ชัด
2.การตัดสินใจแบบไม่มีโครงสร้าง (Unstructured Decision ) = เป็นการตัดสินใจระดับสูง เป็นการตัดสินใจเกี่ยวกับปัญหาที่ไม่สามารถกำหนดการตัดสินใจล่วงหน้า
3.การตัดสินใจแบบกึ่งโครงสร้าง (Semi structured Decision) = เป็นการตัดสินใจในระดับกลาง เป็นการตัดสินใจเกี่ยวกับปัญหาที่ระบุกระบวนการ วิธีการตัดสินใจไว้ล่วงหน้าบางส่วน อีกส่วนต้องใช้ประสบการณ์และวิจารณญาณของผู้ตัดสินใจ
นิยามของระบบการสนับสนุนการตัดสินใจมีหลากหลายแตกต่างกันดังนี้
ลิตเทิล ให้นิยามว่า DSS คือกลุ่มของกระบวนการที่อาศัยตัวแบบในการประมวลข้อมูลและพิจารณาเพื่อช่วยผู้บริหารในการตัดสินใจ
มัวร์ และ ชาง ให้นิยามของ DSS ว่า เป็นระบบที่เพิ่มความสามารถในการสนับสนุนการวิเคราะห์ข้อมูลแบบเฉพาะกิจ
บอนเช็ค และ คณะ ให้นิยามของ DSS ว่า เป็นระบบคอมพิวเตอร์ที่ประกอบด้วยองค์ประกอบที่มีปฏิสัมพันธ์ซึ่งกัน ได้3 องค์ประกอบ คือ ระบบทางภาษา ระบบความรู้ ระบบกระบวนการแก้ปัญหา
คีน ให้นิยามของDSS ว่า คือผลผลิตของกระบวนการพัฒนา ซึ่งผู้ใช้ ผู้สร้างระบบ และตัวระบบเองมีความสามารถในการตอบสนอง และ มีอิทธิพลต่อกัน
ส่วนประกอบของ DSS ประกอบด้วย 3 ส่วน คือ
1. ส่วนจัดการข้อมูล ประกอบด้วยฐานข้อมูล ระบบจัดการข้อมูล ส่วนสอบถามข้อมูล สารบัญข้อมูล ส่วนการดึงข้อมูล และข้อมูลที่ได้รับจากแหล่งต่างๆทั้งจากภายในและภายนอกองค์การ
2. ส่วนจัดการโมเดล ประกอบด้วยฐานแบบจำลอง ระบบจัดการฐานแบบจำลอง ภาษาแบบจำลอง สารบัญแบบจำลอง และส่วนดำเนินการแบบจำลอง
3. ส่วนจัดการโต้ตอบ ทำหน้าที่เป็นตัวกลางระหว่างผู้ใช้กับระบบเป็นไปด้วยความสะดวก และง่ายต่อการใช้งาน ผู้ใช้สามารถควบคุมข้อมูลนำเข้าและรูปแบบจำลองรวมอยู่ในการวิเคราะห์ได้
สำหรับระบบDSS ชั้นสูงจะมีส่วนจัดการองค์ความรู้เป็นอีกส่วนประกอบหนึ่ง
ส่วนจัดการองค์ความรู้ สำหรับระบบ DSS ขั้นสูงมีส่วนที่เรียกว่า ส่วนจัดการองค์ความรู้ เป็นส่วนที่ช่วยแก้ปัญหาที่ต้องอาศัยความรู้ ความเชี่ยวชาญ เพื่อให้ระบบDSS ทำงานได้ดีขึ้น
ระบบDSS มีส่วนจัดการองค์ความรู้เป็นองค์ประกอบด้วยจะเรียกว่า
- ระบบสนับสนุนการตัดสินใจชาญฉลาด
- ระบบสนับสนุนการตัดสินใจและผู้เชี่ยวชาญอิงฐานความรู้
- ระบบสนับสนุนผู้เชี่ยวชาญ
- ระบบแอ็คทีฟDSS
- ระบบสนับสนุนการตัดสินใจอิงฐานความรู้
ประเภทของระบบDSS เป็น 2 ประเภท คือ
1.ระบบสนับสนุนการตัดสินใจที่ใช้รูปแบบเป็นหลัก ( Model driven DSS) เป็นระบบที่ใช้การจำลองสถานการณ์ และรูปแบบวิเคราะห์ต่างๆ
2.ระบบสนับสนุนการตัดสินใจที่ใช้ข้อมูลเป็นหลัก ( Data driven DSS) เป็นระบบที่ช่วยให้ผู้ใช้สามารถดึงข้อมูลที่เป็นประโยชน์จากแหล่งต่างๆเพื่อนำมาวิเคราะห์
ลักษณะและความสามารถของระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
1.สนับสนุนการตัดสินใจทั้งในสถานการณ์แบบกึ่งโครงสร้างและไม่มีโครงสร้าง
2.สนับสนุนการทำงานของผู้บริหารหลายระดับ
3.สนับสนุนการตัดสินใจแบบเฉพาะบุคคลและแบบกลุ่มได้เนื่องจากปัญหามีความแตกต่างกัน
4.สนับสนุนการตัดสินปัญหาที่เกี่ยวพันซึ่งกัน หรือปัญหาแบบต่อเนื่อง
5. สนับสนุนทุกขั้นตอนของกระบวนการตัดสินใจ
6.สนับสนุนการตัดสินใจหลากหลายรูปแบบ
7.สามารถปรับข้อมูลเพื่อจัดการกับเงือนไขต่างๆที่เปลี่ยนแปลงได้
8.สามารถใช้งานได้ง่าย โดยระบบDSS จะเชื่อมต่อระบบภาษาที่ง่ายต่อการเข้าใจ มีภาพประกอบ
9.เพิ่มประสิทธิผลในการตัดสินใจ มีความถูกต้องแม่นยำ รวดเร็ว
10.ผู้ทำการตัดสินใจสามารถควบคุมทุกขั้นตอนในการตัดสินใจแก้ปัญหา
11.ผู้ใช้สามารถปรับปรุงระบบDSSขนาดเล็กได้ด้วยตนเอง
12.มีการใช้แบบจำลองเพื่อช่วยในการวิเคราะห์สถานการณ์ตัดสินใจ
13.สามารถเข้าถึงข้อมูลจากหลายแหล่งได้
ความแตกต่างระหว่างระบบDSS และระบบสารสนเทศอื่น
ระบบDSS เป็นระบบที่จัดทำให้ฝ่ายบริหาร ผู้เชี่ยวชาญ และนักวิเคราะห์ขององค์การ เพื่ออำนวยความสะดวกในการหาข้อมูลทั้งเกี่ยวข้องกับปัญหาแบบกึ่งโครงสร้าง และไม่มีโครงสร้าง สำหรับระบบTPSมีการจัดข้อมูลสำหรับงานประจำวัน มีกฏเกณฑ์การทำงานที่ชัดเจน สำหรับระบบMIS จะให้สารสนเทศเพื่อการควบคุม ตรวจสอบการปฏิบัติงาน สรุปผลการดำเนินงาน
ระบบสนับสนุนการตัดสินใจส่วนบุคคล
เป็นระบบที่ออกแบบมาเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจของแต่ละบุคคลซึ่งผู้ใช้สามารถปรับเปลี่ยนเงื่อนไขต่างๆได้ด้วยตนเอง
ระบบสนับสนุนการตัดสินใจกลุ่ม(Group Decision Support System; GDSS)
เป็นระบบแบบโต้ตอบที่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อสนับสนุนการตัดสินใจร่วมกันของกลุ่มบุคคล ระบบนี้ต้องอาศัยเทคโนโลยีด้านการสื่อสารเพื่อเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของGDSS มีส่วนประกอบที่สำคัญ ดังนี้
1. อุปกรณ์ สิ่งอำนวยความสะดวกในการประชุม เช่น โต๊ะ เครื่องเสียง อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
2.ชุดคำสั่ง แบบสอบถามอิเล็กทรอนิกส์ เครื่องมือระดมความคิดทางอิเล็กทรอนิกส์ เครื่องมือช่วยกำหนดนโยบาย
3.ฐานแบบจำลองของระบบ ประกอบด้วยแบบจำลองเช่นเดียวกับ ระบบDSS ส่วนบุคคล
4.บุคลากร สมาชิกในกลุ่ม และผู้สนับสนุนด้านต่างๆ
ประโยชน์ของGDSS ช่วยส่งเสริมการทำงานเป็นกลุ่ม ดังนี้
1.เตรียมความพร้อมในการประชุม
2.อำนวยความสะดวกด้านการสื่อสารระหว่างสมาชิกกลุ่ม
3.ส่งเสริมและสร้างบรรยากาศในการร่วมมือกันระหว่างสมาชิก
4.จัดเตรียมข้อมูลสารสนเทศให้เหมาะสม
5.จัดลำดับความสำคัญของปัญหา
6.อำนวยความสะดวกในการจัดเอกสารประกอบการประชุม
เเบบฝึกหัดบทที่ 7
1. อะไรคือความแตกต่างระหว่างความสามารถของผู้บริหารในการเรียกข้อมูลออกมาใช้ตามความต้องการของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ และความสามารถจัดการเรื่องบริหารการตัดสินใจโดยใช้ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
8. อะไรคือขอบเขตจำกัด หรืออันตรายที่นักศึกษามองเห็นในการใช้เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์
ความเป็นจริงเสมือน หรือ ความจริงเสมือน (อังกฤษ: virtual realityหรือ VR) เป็นสภาพแวดล้อมที่จำลองโดยคอมพิวเตอร์ สภาพแวดล้อมในความเป็นจริงเสมือนส่วนมากจะเป็นเรื่องเกี่ยวกับ สิ่งที่เกี่ยวกับการมองเห็นแสดงทั้งบนจอคอมพิวเตอร์ หรือ อุปกรณ์แสดงผลสามมิติ แต่การจำลองบางอันยังรวมไปถึงข้อมูลสารสนเทศที่เกี่ยวกับประสาทสัมผัสด้วย เช่น เสียงจากลำโพงหรือหูฟัง ระบบสำหรับทำการทดลองขั้นสูงยังรวมถึงการสัมผัสเช่นการตอบสนองต่อแรงป้อนกลับ โดยผู้ใช้สามารถโต้ตอบกับสิ่งแวดล้อมเสมือนได้ทั้งการใช้อุปกรณ์นำเข้ามาตรฐานเช่น แป้นพิมพ์ หรือ เมาส์ หรือใช้อุปกรณ์หลายภาวะ เช่น ถุงมือโครงลวด แขนควบคุม หรือ คันบังคับหลายทิศทาง
แหล่งที่มา : aim-sukanya.blogspot.com/2011/08/7.html
กรณีศึกษา
1. อะไรเป็นมูลค่าทางธุรกิจของการประมวลผลการวิเคราะห์ออนไลน์ของบริษัท Office Depot
ตอบ บริษัทสูญเสียพนักงานที่มีประสิทธิภาพกว่า 12 คนซึ่งเคยเป็นผู้ช่วยเหลือในการสร้างารายงานของการขายสินค้าใน 600 ร้านทั่วโลก
2. บริษัท Office Depot ได้ผลจากการลงทุนสำหรับเทคโนโลยีสารสนเทศที่นำ OLAP ไปใช้งานอย่างไร
ตอบ โดยเป็นการใช้งานจากลูกค้าจำนวน 200 รายและผู้บริหารทางด้านการเงิน บริษัท Office Depot ได้จัดสร้าง สิ่งที่ถูกต้อง สมควร ( Respectable ) ซึ่งทำให้การขายสูงถึง 4 เปอร์เซ็นต์ในช่วงปีหลัง โดยกลุ่มคนที่เป็นผู้ค้าร่วมกับเครื่องมือในการวิเคราะห์ของตัวเอง
3. บริษัท Office Depot ควรที่จะมีการเตรียมให้ผู้จัดส่งสินค้าผ่านเอ็กซ์ทราเน็ตเพื่อเข้าถึงข้อมูลทางการตลาดหรือไม่ เพราะอะไร
ตอบ เตรียมผู้จัดหาตลาดสินค้าที่มีการทำงานร่วมกับการเข้าถึงข้อมูลทางการตลาดในระบบอินทราเน็ตที่ใช้ Wirfd ของการเชื่อมโยงใน OLAP บริษัทพร้อมจะแบ่งส่วนในการทำงานของการขายร่ามกับผู้จัดหาสินค้าหลักอีกสองแหล่งทั้งหมด
ที่มา: Sukanya
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น