สรุปผลการเข้าฟังการอบรมงานวิจัย ห้อง 2302
1. การออกแบบการทดลองการแพ็กคาร์เบอไรซิงที่ส่งผลต่อความเข้มแข็งของชุดคมตัดแม่พิมพ์ที่ขึ้นรูปจากเหล็ก AISI 1020 โดยใช้เปลือกไข่ไก่เป็นเร่ง
โดยมีหัวข้อในการนำเสนอ ดังนี้
- ที่มาและความสำคัญ
- วัตถุประสงค์
- อุปกรณ์ในการทดลอง
- งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
- วิธีการทดลอง
- สรุปผลการทดลอง
➤ จากหัวข้อวิจัยนี้สามารถสรุปผลการทดลองได้ดังนี้ จากการทดลองในครั้งนี้ได้ทราบถึงความเข้มแข็งของชุดคมตัดแม่พิมพ์ที่ไม่สามารถทำให้คมได้ตามที่ต้องการ สาเหตุมาจากการบิดของเหล็กทำให้สูญเสียแรงในขณะทำการขึ้นรูป
ผู้เขียนงานวิจัย : ธวัชชัย จารุวงศ์วิทยา
✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤
4. ระบบการจัดการสัมมนาทางวิชาการ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสวนดุสิต
โดยมีหัวข้อในการนำเสนอ ดังนี้
- ที่มาและความสำคัญ
- วัตถุประสงค์
- วิธีดำเนินการวิจัย
- ผลที่ได้จากการวิจัย
- สรุปผลการวิจัย
➤ จากหัวข้อวิจัยนี้สามารถสรุปผลการทดลองได้ดังนี้ จากผลการประเมินของผู้ใช้ระบบมีความพึงพอใจต่อการระบบการจัดการสัมมนาวิชาการ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสวนดุสิต พบว่าโดยรวมทั้งหมดอยู่ในระดับมากที่สุด เรียงตามค่าเฉลี่ยคือ (1) ด้านการนำไปใช้จริง (2) ด้านขอบเขตของข้อมูล (3) ประสิทธิภาพของระบบ (4)ด้านการออกแบบและการจัดรูปแบบระบบ ดังนั้นผลการประเมินความพึงพอใจด้านการนำไปใช้จริงมีระดับความพึงพอใจอยู่ในลำดับที่ 1 จึงเห็นได้ว่าระบบมีเหมาะสมกับการนำไปใช้งานสำหรับการจัดงานสัมมนาวิชาการของคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ผู้เขียนงานวิจัย : ทินกร ชุณหภัทรกุล
✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤
5. ระบบต้นแบบการจัดการความเสี่ยงสำหรับการประเมินการติดตั้งซอฟต์แวร์ภายใต้มาตรฐานของ COBIT, COSO
⏩⏩ เนื่องจากผู้เขียนงานวิจัยไม่ได้เข้าบรรยายในการอบรม จึงไม่ทราบเนื้อหารายละเอียดเกี่ยวกับผลงานวิจัย ⏪⏪
ผู้เขียนงานวิจัย : ปัทมา เจริญพร
✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤
6. เจ็ทปั๊มไอน้ำที่ใช้ในระบบอบแห้งสุญญากาศ
โดยมีหัวข้อในการนำเสนอ ดังนี้
- บทนำ
- วัตถุประสงค์
- หลักการทำงานของเจ็ทปั๊ม
- ทบทวนวรรณกรรมและงานวิจัย
- การออกแบบและชุดทดลอง
- ผลการทดลอง
- สรุปผลการทดลอง
➤ จากหัวข้อวิจัยนี้สามารถสรุปผลการทดลองได้ดังนี้ เมื่อความดันปฐมภูมิเพิ่มขึ้นความดัยสุญญากาศภายในห้องอบแห้งจะมีค่าลดลงที่ความดันปฐมภูมิ 5 bar สามารถสร้างความดันสุญญากาศในห้องอบแห้งได้ถึง 40.80 bar ที่ตำแหน่งหัวฉีด (NXP) = 20 mm เมื่อเริ่มการทำงานของระบบความดันสุญญากาศภายในห้องอบแห้งจะมีการลดลงอย่างต่อเนื่อง จนกระทั่งความดันสุญญากาศลดลงต่ำที่สุด ที่ความสามารถของเจ็ทปั๊มในแต่ละช่วงความดันปฐมภูมิสามารถทำได้ ความดันสุญญากาศภายในห้องอบแห้งจะอยู่ในสภาวะคงที่ โดยที่ความดันปฐมภูมิ 5 bar สามารถสร้างความดันสุญญากาศต่ำที่สุดได้ -0.80 bar โดยใช้เวลาประมาน 7 นาที
ผู้เขียนงานวิจัย : วรเชษฐ์ แสงสีดา
✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤
7. การวิเคราะห์การไหลตัวและค่าพารามิเตอร์ในการฉีดขึ้นรูปของพลาสติกกรีไซเคิล กรณีศึกษา พลาสาติกชนิดพอลิโพรไพลินรีไซเคิลจากถุงน้ำเกลือ
โดยมีหัวข้อในการนำเสนอ ดังนี้
- ที่มาและความสำคัญของปัญหา
- งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
- วัตถุประสงค์
- ขั้นตอนการทดลอง
- วิเคราะและสรุปผลการจำลองการไหลของพลาสติก
- สรุปผลการทดลอง
➤ จากหัวข้อวิจัยนี้สามารถสรุปผลการทดลองได้ดังนี้ ผลงานมีขนาดใกล้เคียงกับผลงานจริง และสามารถใช้งานได้จริง ซึ่งมีค่าคลาดเคลื่อนไปจากผลงานจริง 0.5 mm
ผู้เขียนงานวิจัย : วัชระสุข เรืองกุล
✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤
8. การหาขนาดคอคอดหัวฉีดของอีเจ็คเตอร์ที่ใช้เป็นอุปกรณ์ขยายความดันในระบบทำความเย็นแบบอัดไอ
โดยมีหัวข้อในการนำเสนอ ดังนี้
- บทนำ
- ระเบียบวิธีการวิจัย
- ผลและอภิปรายผลการวิจัย
- สรุปผลการวิจัย
➤ จากหัวข้อวิจัยนี้สามารถสรุปผลการทดลองได้ดังนี้ ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางคอคอดของหัวฉีดที่เหมาะสมมีค่าเท่ากับ 1.4 mm อัตราส่วนการเหนียวนำและค่าความดันวิกฤตเท่ากับ 0.4 และ 564.1 KPa ตามลำดับ อัตราส่วนพื้นที่ (Area ratio, AR) ของอีเจ็ตเตอร์มีค่าเท่ากับ 10.27
ผู้เขียนงานวิจัย : ธวัชชัย จารุวงศ์วิทยา
✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤
9. สื่อดิจิทัลเพื่อการเรียนรู้โภชนาการและการออกกำลังกายสำหรับบุคคลวัยทำงาน
โดยมีหัวข้อในการนำเสนอ ดังนี้
- ความเป็นมาและความสำคัญ
- วัตถุประสงค์
- ขอบเขตด้านการทำงานของระบบ
- ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
- การพัฒนาระบบ
- ผลการประเมิน
- ข้อเสนอแนะ
- สรุปผลการวิจัย
➤ จากหัวข้อวิจัยนี้สามารถสรุปผลการทดลองได้ดังนี้ สื่อดิจิทัลเพื่อการเรียนรู้สามารถให้บริการในสื่อออนไลน์ได้จริง และมีบุคคลที่เข้าใช้งานมีความพึงพอใจ เนื่องจากสื่อดิจิทัลได้ให้รายละเอียดเกี่ยวกับการใช้งานไว้ชัดเจนและครบถ้วน
ผู้เขียนงานวิจัย : ฐิติยา เนตรวงษ์
✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤
10. เครื่องจักรกึ่งอัตโนมัติสำหรับขั้นตอนการเย็บในอุตสาหกรรมกระเป๋า
โดยมีหัวข้อในการนำเสนอ ดังนี้
- บทนำ
- วัตถุประสงค์
- ขอบเขตในการวิจัย
- คาดการณ์ผลที่จะได้รับ
- งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
- สรุปผลการทดลอง
➤ จากหัวข้อวิจัยนี้สามารถสรุปผลการทดลองได้ดังนี้ การทดลองจะมี 2 รอบ เป็นแนว 25 แนวเย็บ เกินขีดจำกัด 2 แนวเย็บ คิดเป็นประมาณ 8% สาเหตุคือผ้าไม่ยอมมาตามมือ รอยเย็บที่เบี้ยวประมาณ 80 มิลลิเมตร จากความยาวทั้งหมด 190 มิลลิเมตร เมื่อติดเย็บเทียบกับความยาวทั้งหมดที่เย็บเท่ากับ 38% ค่าเฉลี่ยจากทุกชิ้นงานรอยเบ็บมีความเบี้ยวอยู่ประมาน 23% องศาหมุนที่ผิดพลาดจากมุมที่ต้องการไปประมาณ 3-4 องศา โดยคิดเฉลี่ยการหมุนผิดพลาดทั้งหมดจำนวน 1.4 องศา
ผู้เขียนงานวิจัย : สมมนัส วงศ์ชัยชนะ
โดยมีหัวข้อในการนำเสนอ ดังนี้
- ที่มาและความสำคัญ
- วัตถุประสงค์
- อุปกรณ์ในการทดลอง
- งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
- วิธีการทดลอง
- สรุปผลการทดลอง
➤ จากหัวข้อวิจัยนี้สามารถสรุปผลการทดลองได้ดังนี้ จากการทดลองในครั้งนี้ได้ทราบถึงความเข้มแข็งของชุดคมตัดแม่พิมพ์ที่ไม่สามารถทำให้คมได้ตามที่ต้องการ สาเหตุมาจากการบิดของเหล็กทำให้สูญเสียแรงในขณะทำการขึ้นรูป
ผู้เขียนงานวิจัย : พงษ์ศักดิ์ รุนกระโทก
✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤
2. อิทธิพลของการผสมพอลิเอไมดุ์และไซเลนกับการอบไอน้ำ ที่ส่งผลคุณสมบัติเชิงกล
โดยมีหัวข้อในการนำเสนอ ดังนี้
- ที่มาในการศึกษา
- งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
- วิธีดำเนินงานวิจัย
- ผลการทดลอง
➤ จากหัวข้อวิจัยนี้สามารถสรุปผลการทดลองได้ดังนี้ จากการทดลองผลปรากฎว่าค่า SSC จะต้องมีค่าสูงเท่านั้น การทำงานถึงจะมีประสิทธิภาพ และเมื่อใดที่ค่า KP1 ลดต่ำลง ก็จะส่งผลกระทบต่อการทำงาน โดยค่าเฉลี่ยคุณสมบัติเชิงกลอยู่ที่ 34.5 %
ผู้เขียนงานวิจัย : จักรายุทธ มากทอง
✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤
3. การศึกษาความเหมาะสมเตาแก๊สหุงต้มที่ใช้แก๊สชีวมวลเป็นเชื้อเพลิง
โดยมีหัวข้อในการนำเสนอ ดังนี้
- ที่มา
- ปัญหาในการศึกษา
- ทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
- วัตถุประสงค์ของการศึกษา
- อุปกรณ์การทดลอง
- วิธีการทดลอง
- ผลการทดลอง
➤ จากหัวข้อวิจัยนี้สามารถสรุปผลการทดลองได้ดังนี้ (1) ลักษณะเตามีอิทธิพลต่อการกระจายอุณภูมิ (2) อุณหภูมิก้นภาชนะสูงสุด 616 องศาเซลเซียล ที่ตำแหน่งจากจุดกึ่งกลางก้นภาชนะ 30 มิลลิเมตร (3) ได้ทราบช่วงของอัตราการป้อนแก๊สที่เหมาะสมก็ได้จากเชื้อเพลิงชีวมวลก๊าซที่มีค่าความร้อนต่ำให้กับหัวเตาแก๊สแรงดันสูงแบบ KB-5 ซึ่งสามารถนำไปประยุกต์ใช้กับหัวเตาแก๊สชนิดอื่นๆ เพื่อให้ความร้อนหรือการใช้หุงต้มในครัวเรือน
ผู้เขียนงานวิจัย : ธวัชชัย จารุวงศ์วิทยา
✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤
4. ระบบการจัดการสัมมนาทางวิชาการ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสวนดุสิต
โดยมีหัวข้อในการนำเสนอ ดังนี้
- ที่มาและความสำคัญ
- วัตถุประสงค์
- วิธีดำเนินการวิจัย
- ผลที่ได้จากการวิจัย
- สรุปผลการวิจัย
➤ จากหัวข้อวิจัยนี้สามารถสรุปผลการทดลองได้ดังนี้ จากผลการประเมินของผู้ใช้ระบบมีความพึงพอใจต่อการระบบการจัดการสัมมนาวิชาการ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสวนดุสิต พบว่าโดยรวมทั้งหมดอยู่ในระดับมากที่สุด เรียงตามค่าเฉลี่ยคือ (1) ด้านการนำไปใช้จริง (2) ด้านขอบเขตของข้อมูล (3) ประสิทธิภาพของระบบ (4)ด้านการออกแบบและการจัดรูปแบบระบบ ดังนั้นผลการประเมินความพึงพอใจด้านการนำไปใช้จริงมีระดับความพึงพอใจอยู่ในลำดับที่ 1 จึงเห็นได้ว่าระบบมีเหมาะสมกับการนำไปใช้งานสำหรับการจัดงานสัมมนาวิชาการของคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ผู้เขียนงานวิจัย : ทินกร ชุณหภัทรกุล
✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤
5. ระบบต้นแบบการจัดการความเสี่ยงสำหรับการประเมินการติดตั้งซอฟต์แวร์ภายใต้มาตรฐานของ COBIT, COSO
⏩⏩ เนื่องจากผู้เขียนงานวิจัยไม่ได้เข้าบรรยายในการอบรม จึงไม่ทราบเนื้อหารายละเอียดเกี่ยวกับผลงานวิจัย ⏪⏪
ผู้เขียนงานวิจัย : ปัทมา เจริญพร
✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤
6. เจ็ทปั๊มไอน้ำที่ใช้ในระบบอบแห้งสุญญากาศ
โดยมีหัวข้อในการนำเสนอ ดังนี้
- บทนำ
- วัตถุประสงค์
- หลักการทำงานของเจ็ทปั๊ม
- ทบทวนวรรณกรรมและงานวิจัย
- การออกแบบและชุดทดลอง
- ผลการทดลอง
- สรุปผลการทดลอง
➤ จากหัวข้อวิจัยนี้สามารถสรุปผลการทดลองได้ดังนี้ เมื่อความดันปฐมภูมิเพิ่มขึ้นความดัยสุญญากาศภายในห้องอบแห้งจะมีค่าลดลงที่ความดันปฐมภูมิ 5 bar สามารถสร้างความดันสุญญากาศในห้องอบแห้งได้ถึง 40.80 bar ที่ตำแหน่งหัวฉีด (NXP) = 20 mm เมื่อเริ่มการทำงานของระบบความดันสุญญากาศภายในห้องอบแห้งจะมีการลดลงอย่างต่อเนื่อง จนกระทั่งความดันสุญญากาศลดลงต่ำที่สุด ที่ความสามารถของเจ็ทปั๊มในแต่ละช่วงความดันปฐมภูมิสามารถทำได้ ความดันสุญญากาศภายในห้องอบแห้งจะอยู่ในสภาวะคงที่ โดยที่ความดันปฐมภูมิ 5 bar สามารถสร้างความดันสุญญากาศต่ำที่สุดได้ -0.80 bar โดยใช้เวลาประมาน 7 นาที
ผู้เขียนงานวิจัย : วรเชษฐ์ แสงสีดา
✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤
7. การวิเคราะห์การไหลตัวและค่าพารามิเตอร์ในการฉีดขึ้นรูปของพลาสติกกรีไซเคิล กรณีศึกษา พลาสาติกชนิดพอลิโพรไพลินรีไซเคิลจากถุงน้ำเกลือ
โดยมีหัวข้อในการนำเสนอ ดังนี้
- ที่มาและความสำคัญของปัญหา
- งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
- วัตถุประสงค์
- ขั้นตอนการทดลอง
- วิเคราะและสรุปผลการจำลองการไหลของพลาสติก
- สรุปผลการทดลอง
➤ จากหัวข้อวิจัยนี้สามารถสรุปผลการทดลองได้ดังนี้ ผลงานมีขนาดใกล้เคียงกับผลงานจริง และสามารถใช้งานได้จริง ซึ่งมีค่าคลาดเคลื่อนไปจากผลงานจริง 0.5 mm
ผู้เขียนงานวิจัย : วัชระสุข เรืองกุล
✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤
8. การหาขนาดคอคอดหัวฉีดของอีเจ็คเตอร์ที่ใช้เป็นอุปกรณ์ขยายความดันในระบบทำความเย็นแบบอัดไอ
โดยมีหัวข้อในการนำเสนอ ดังนี้
- บทนำ
- ระเบียบวิธีการวิจัย
- ผลและอภิปรายผลการวิจัย
- สรุปผลการวิจัย
➤ จากหัวข้อวิจัยนี้สามารถสรุปผลการทดลองได้ดังนี้ ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางคอคอดของหัวฉีดที่เหมาะสมมีค่าเท่ากับ 1.4 mm อัตราส่วนการเหนียวนำและค่าความดันวิกฤตเท่ากับ 0.4 และ 564.1 KPa ตามลำดับ อัตราส่วนพื้นที่ (Area ratio, AR) ของอีเจ็ตเตอร์มีค่าเท่ากับ 10.27
ผู้เขียนงานวิจัย : ธวัชชัย จารุวงศ์วิทยา
✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤
9. สื่อดิจิทัลเพื่อการเรียนรู้โภชนาการและการออกกำลังกายสำหรับบุคคลวัยทำงาน
โดยมีหัวข้อในการนำเสนอ ดังนี้
- ความเป็นมาและความสำคัญ
- วัตถุประสงค์
- ขอบเขตด้านการทำงานของระบบ
- ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
- การพัฒนาระบบ
- ผลการประเมิน
- ข้อเสนอแนะ
- สรุปผลการวิจัย
➤ จากหัวข้อวิจัยนี้สามารถสรุปผลการทดลองได้ดังนี้ สื่อดิจิทัลเพื่อการเรียนรู้สามารถให้บริการในสื่อออนไลน์ได้จริง และมีบุคคลที่เข้าใช้งานมีความพึงพอใจ เนื่องจากสื่อดิจิทัลได้ให้รายละเอียดเกี่ยวกับการใช้งานไว้ชัดเจนและครบถ้วน
ผู้เขียนงานวิจัย : ฐิติยา เนตรวงษ์
✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤✤
10. เครื่องจักรกึ่งอัตโนมัติสำหรับขั้นตอนการเย็บในอุตสาหกรรมกระเป๋า
โดยมีหัวข้อในการนำเสนอ ดังนี้
- บทนำ
- วัตถุประสงค์
- ขอบเขตในการวิจัย
- คาดการณ์ผลที่จะได้รับ
- งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
- สรุปผลการทดลอง
➤ จากหัวข้อวิจัยนี้สามารถสรุปผลการทดลองได้ดังนี้ การทดลองจะมี 2 รอบ เป็นแนว 25 แนวเย็บ เกินขีดจำกัด 2 แนวเย็บ คิดเป็นประมาณ 8% สาเหตุคือผ้าไม่ยอมมาตามมือ รอยเย็บที่เบี้ยวประมาณ 80 มิลลิเมตร จากความยาวทั้งหมด 190 มิลลิเมตร เมื่อติดเย็บเทียบกับความยาวทั้งหมดที่เย็บเท่ากับ 38% ค่าเฉลี่ยจากทุกชิ้นงานรอยเบ็บมีความเบี้ยวอยู่ประมาน 23% องศาหมุนที่ผิดพลาดจากมุมที่ต้องการไปประมาณ 3-4 องศา โดยคิดเฉลี่ยการหมุนผิดพลาดทั้งหมดจำนวน 1.4 องศา
ผู้เขียนงานวิจัย : สมมนัส วงศ์ชัยชนะ
ที่มา:นางสาวนิศารัตน์ สายทอง
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น